เว็บไซต์รายวิชา 206100
Mathematics in Everyday Life (คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน)
ปีการศึกษา 2555 เทอม 1
ประกาศ มช. เรื่องการเข้าชั้นเรียน (ขาดเรียนได้สูงสุด 6 ครั้ง)
เรียน Math ยังไงให้ได้ A - บทความสำหรับแนะนำนักศึกษาในการเรียนและสอบวิชาคณิตศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ
ชื่อกระบวนวิชา: Mathematics in Everyday Life หรือ คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
ผู้สอน: อาจารย์ ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์
ห้องพัก: MB 2304 (ตึกคณิตศาสตร์ ชั้น 3)
โทรศัพท์: (053) 94-3327 ต่อ 127
อีเมล์: kettapun[at]gmail.com
Facebook: kettapun[at]gmail.com
เว็บไซต์: www.atichart.com
ผู้สอน:
ผศ.ดร.อรรถพล แก้วขาว
ห้องพัก:
MB 2303 (ตึกคณิตศาสตร์ชั้น 3)
โทรศัพท์: (053) 94-3327
ต่อ 126
อีเมล์: akaewkhao[at]yahoo.com
Facebook รายวิชา: Math100 1/2551
วันเวลาที่สอน:
ตอนที่ 1 จันทร์และพฤหัสบดี เวลา 09.00-11.00 น. ห้อง SCB3100 (อ.ดร.อติชาต)
ดูรายชื่อ น.ศ.ที่ลงทะเบียนเรียน
ตอนที่ 2 จันทร์และพฤหัสบดี เวลา 13.00-14.30 น. ห้อง MB2211 (อ.ดร.อติชาต, ผศ.ดร.อรรถพล)
ดูรายชื่อ น.ศ.ที่ลงทะเบียนเรียน
Office Hours:
นักศึกษาสามารถนัดพบนอกเวลาสอนได้เสมอ
สัดส่วนการให้คะแนน:
สอบกลางภาค: วันอาทิตย์ที่ 5 สิงหาคม 2555 เวลา 12.00-15.00 น. ดาวโหลดไฟล์แสดงห้องสอบ / หากนักศึกษาไม่ใส่ชุดนักศึกษาตามระเบียบ มช. กรรมการคุมสอบมีสิทธิ์ที่ไม่ให้นักศึกษาเข้าสอบ
Office Hours ก่อนสอบกลางภาค:
วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2555 เวลา 13.00-17.00 น. ณ ห้อง MB2313 ตึกคณิตศาสตร์
วันพุธที่ที่ 1 สิงหาคม 2555 เวลา 15.00-17.00 น. ณ ห้อง MB2313 ตึกคณิตศาสตร์
สอบปลายภาค: วันพฤหัสบดีที่ 11 ตุลาคม 2555 เวลา 08.00-11.00 น. / หากนักศึกษาไม่ใส่ชุดนักศึกษาตามระเบียบ มช. กรรมการคุมสอบมีสิทธิ์ที่ไม่ให้นักศึกษาเข้าสอบ
Office Hours ก่อนสอบปลายภาค:
วันจันทร์ที่ 8 ต.ค. 2555 เวลา 10.00-12.00 น. โดย ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์ ห้อง MB2304 ตึกคณิตศาสตร์
ข้อแนะนำสำหรับการสอบปลายภาค (ปรับปรุงล่าสุด 28 ก.ย. 55) - ประกาศห้องสอบ ลักษณะข้อสอบ และสิ่งที่นำเข้าห้องสอบได้
คะแนนสอบ:
ประกาศคะแนนเก็บ 60% (ปรับปรุงล่าสุด 5 ต.ค. 55) - หากพบข้อผิดพลาดให้แจ้งให้ผู้สอนภายในวันจันทร์ที่ 24 ก.ย. 55 นี้ หากไม่ติดต่ออาจารย์ภายในวันดังกล่าว จะถือว่าข้อมูลทั้งหมดถูกต้องและอาจารย์อาจจะไม่อนุญาตให้ปรับคะแนน / คะแนนทั้งหมดอยู่ระหว่าง 27.00-60.00 และมีคะแนนเฉลี่ยคือ 49.41 จาก 60 คะแนน / สำหรับนศ.ที่ไม่เข้าห้องเรียนมากกว่า 6 ครั้ง หากไม่ถอนกระบวนวิชา(W) จะได้รับเกรด F
แหล่งข้อมูลประกอบการเรียนการสอน :
1) เอกสารประกอบการสอน
บทที่ 1 Power Point ประกอบการสอนหัวข้อ 1.1-1.2 และ 1.3 บางส่วน
บทที่ 4 การ์ตูนประวัติศาสตร์ไทยในมิติคณิตศาสตร์ - เนื้อหาทั้งหมดสามารถออกสอบกลางภาคได้
บทที่ 4
Power Point
ประกอบการสอน
"คณิตศาสตร์กับการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่"
บทที่ 4 วีดีทัศน์ "คณิตศาสตร์กับการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่"
บทที่ 4 บทความ "เสาหลักเมืองแทนทฤษฏีพิทากอรัสได้อย่างไร" - อ่านเสริมสำหรับคนที่ต้องการศึกษาที่มาของการสร้างกำแพงเมืองเชียงใหม่อย่างลึกซึ้ง
บทที่ 4
ปฏิทินสากล
- Power Point ที่ใช้สอนในห้องเรียน
บทที่ 4 The Existing Suvannaphum at Wat Pra Yeun - บทความในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ เพื่ออธิบายการใช้ศาสนสถานเพื่อจัดทำปฏิทิน เหมาะสำหรับอ่านเสริมเฉพาะคนที่สนใจการนำเสนอทางวิชาการที่ลึกซึ้ง
2) แบบฝึกหัด
3) เฉลยข้อสอบย่อย (Quiz)
เฉลย Quiz 15-20 ของตอนที่ 1 - เฉพาะโจทย์ของ อ.อติชาต (Quiz 11-14 ตอนที่ 1 ใช้เหมือนตอนที่ 2)
เฉลย Quiz 11-19 ของตอนที่ 2 - เฉพาะโจทย์ของ อ.อรรถพล (Quiz 20 ตอนที่ 2 ใช้เหมือนตอนที่ 1)
4) ความรู้เพิ่มเติม
หน่วยวิจัยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติและความสำคัญของค่าไพ (π) ซึ่งเป็นัที่รู้จักกันนานกว่า 4,000 ปี - รายการ "เรื่องน่ารู้จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่" สถานีวิทยุเสียงสื่อสารมวลชน FM.100 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 28 เม.ย. 2554 โดย อาจารย์ ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์ [ดาวโหลดไฟล์ MP3 9M]
เลขฟิโบนักชี : ความมหัศจรรย์ของคณิตศาสตร์ในผัก ผลไม้ และดอกไม้ - รายการ "เรื่องน่ารู้จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่" สถานีวิทยุเสียงสื่อสารมวลชน FM.100 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 22 เม.ย. 2554 โดย อาจารย์ ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์ [ดาวโหลดไฟล์ MP3 10M]
ประโยชน์ของการใช้คณิตศาสตร์เรื่องลอการิทึมในมาตรวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหวและชีวิตประจำวัน ผ่าน FM.100 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 11 เม.ย. 2554 โดย อาจารย์ ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์ [ดาวโหลดไฟล์ MP3 9M]
ข้อเท็จจริง/เรื่องควรรู้ เกียวกับหมวกนิรภัย - ขอแนะนำให้ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ทุกคนได้อ่าน