|
หน่วยวิจัยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Archaeological Mathematics and Science Research Unit (AMS) Faculty of Science, Chiang Mai University, Thailand. |
ผลงานวิจัยเด่น | หลักการและเหตุผล | แนวทางการวิจัย | วัตถุประสงค์ | สมาชิก | รูปแบบการบริการทางวิชาการ | แนวทางการต่อยอดการวิจัย
โครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุน | หนังสือและแผ่นพับเผยแพร่ | วีดีทัศน์ผยแพร่ | ผลงานวีดีทัศน์ผ่านโทรทัศน์และเว็บไซต์
ผลงานบทความ-การให้สัมภาษณ์ | ผลงานเผยแพร่ทางวิทยุ |การบริการวิชาการ | การนำเสนอผลงานทางวิชาการ | ข้อมูลติดต่อ | ลิงค์
ก่อตั้งปี พ.ศ.
2550
![]() |
![]() |
โครงการประวัติศาสตร์บูรณาการในมิติคณิตศาสตร์ | โครงการประวัติศาสตร์บูรณาการในมิติวิทยาศาสตร์ |
โบราณคดีเป็นสาขาที่ทำให้มนุษย์เข้าใจประวัติศาสตร์ ซึ่งบ่งบอกถึงวิวัฒนาการทางความคิด และองค์ความรู้ของคนในอดีต รวมถึงองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ในต่างประเทศมีการนำคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาศึกษาทางโบราณคดีกันมานาน สำหรับในประเทศไทยยังมีการวิจัยในลักษณะนี้ค่อนข้างน้อย ดังนั้นการจัดตั้งกลุ่มวิจัยแบบบูรณาการจากผู้ที่มีความรู้ความสามารถจากหลากหลายสาขาสามารถช่วยทำให้มีการศึกษาวิจัยทางโบราณคดีได้หลากหลายและลึกซึ้งยิ่งขึ้น และทำให้บุคคลทั่วไปเห็นคุณค่าของโบราณคดีมากขึ้นด้วย
เน้นการวิจัยแบบบูรณา
โดยการนำองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ไปศึกษาวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในการศึกษาทางโบราณคดี
และยังมีการนำองค์ความรู้จากการศึกษาวิจัยไปสร้างกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับนักเรียนนักศึกษา
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
1.
สนับสนุนและสนับสนุนให้สมาชิกของหน่วยวิจัยสามารถทำวิจัยทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดีอย่างต่อเนื่อง
และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
2.
ส่งเสริมให้สังคมเห็นความสำคัญของการทำวิจัยทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี
รวมถึงส่งเสริมให้มีการวิจัยแบบบูรณาการมากยิ่งขึ้น
สมาชิกหน่วยวิจัย
1.
อาจารย์
ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์
ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ผู้ประสานงาน)
2. อาจารย์
ดร.ศิริวรรณ เกตตะพันธุ์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3. อาจารย์
สุรชัย จงจิตงาม
ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. ให้บริการการศึกษาดูงาน
และการฝึกอบรม ให้แก่นักวิชาการ ครู นักเรียน นักศึกษา
และประชาชนทั่วไทยทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
2. ให้บริการจัดค่ายเยาวชน
ให้แก่โรงเรียนและมหาวิทยาลัยที่สนใจ
3.
ให้บริการการจัดนิทรรศการให้ความรู้แก่ผู้สนใจ
4.
ให้บริการข้อมูลของหน่วยวิจัยฯ ผ่านเว็บไซต์
www.math.science.cmu.ac.th/ams
เพื่อให้นักวิชาการ ครู
และบุคคลทั่วไปสามารถนำผลงานวิจัย และสื่อการเรียนการสอนไปใช้ประโยชน์ได้
5.
เผยแพร่งานวิจัยผ่านสื่อมวลชนทั้งทางหนังสือพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์
เพื่อให้ประชาชนเห็น
1.
มีการประยุกต์ผลงานวิจัยเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงมหาวิทยาลัย
2.
มีการอบรมครูเพื่อให้ครูสามารถสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนของตนเองได้
3.
มีการนำองค์ความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
4.
มีการนำองค์ความรู้ไปจัดทำพิพิธภัณฑ์หรือศูนย์การเรียนรู้ในลักษณะธุรกิจด้านการศึกษา
โครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุน
โครงการการพัฒนาเปลือกไข่ย้อมสีเพื่อใช้ในการผลิตเครื่องเขินประดับเปลือกไข่
สนับสนุนโดยคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่(พ.ศ.
2555-2556)
โครงการคณิตศาสตร์ในระบบเลขยันต์ล้านนา สนับสนุนโดย คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ.2555-2556)
โครงการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน การศึกษาอุโมงค์จำลอง
ของวัดอุโมงค์ และกำแพงเมืองเชียงใหม่
ที่เป็นการนำวิทยาศาสตร์มาประยุกต์เข้ากับงานศิลปวัฒนธรรม
สนับสนุนโดย คุณนวพร
เรืองสกุล กรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผ่านทางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(พ.ศ.2555)
โครงการบูรณาการคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ล้านนา สนับสนุนโดย
สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ.2554-2555)
โครงการประวัติศาสตร์บูรณาการในมิติคณิตศาสตร์ ในชุดโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่เพื่อหนุนเสริมการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สถานศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (พ.ศ.2553-2554)
โครงการประวัติศาสตร์บูรณาการในมิติวิทยาศาสตร์ ในชุดโครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่เพื่อหนุนเสริมการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สถานศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (พ.ศ.2553-2554)
โครงการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปกรรมเพื่อการจัดทำผังแม่บทของวัดอุโมงค์(สวนพุทธธรรม) สนับสนุนโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาเชียงใหม่ (พ.ศ.2554)
โครงการแผ่นพับและมัลติมีเดียเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กรณีจิตรกรรมฝาผนังวัดอุโมงค์เชิงดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ สนับสนุนโดยสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ. 2551)
โครงการย่อยศึกษาองค์ประกอบทางเคมีจากกาวเมล็ดมะขามและพัฒนาคุณภาพเพื่อใช้ในงานจิตรกรรม ในชุดโครงการศึกษาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ สนับสนุนโดยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (พ.ศ. 2550-2551)
โครงการวิจัยจิตรกรรมฝาผนังและโครงสร้างเจดีย์ วัดอุโมงค์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยวิธีการทางเคมีและคณิตศาสตร์เบื้องต้น สนับสนุนโดยคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่(พ.ศ. 2550-2551)
หนังสือและแผ่นพับเผยแพร่
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ผลงานวีดีทัศน์ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์และเว็บไซต์
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
|
|
|
|
|
|
ผลงานบทความ-การให้สัมภาษณ์ผ่านสื่อมวลชน
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
|
|
|
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
![]() |
|
|
|
|
|
"Integrated Learning Activities among Science, Mathematics, Art and History for Primary School Students in Chiang Mai" at Science Education Symposium (SES) 2011, June 12-13, 2011, Faculty of Education, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand.
การวิจัยจิตรกรรมฝาผนังและแผนผังวัดอุโมงค์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยวิธีการทางเคมีและคณิตศาสตร์เบื้องต้น ในงานการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2553 (Thailand Research Expo 2010), 26-30 ส.ค. 2553, ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ราชาประสงค์, กรุงเทพฯ
จิตรกรรมฝาผนังและโครงสร้างเจดีย์ วัดอุโมงค์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยวิธีการทางเคมีและคณิตศาสตร์เบื้องต้น ในวันวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2551, 20-21 ธ.ค. 2551, หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่
การวิเคราะห์คาร์โบไฮเดรตและโปรตีนเชิงคุณภาพและศึกษาสมบัติทางกายภาพของกาวเมล็ดมะขาม ในการสัมมนาวิทยาศาสตร์ศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 3 เรื่อง การพัฒนากระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สู่นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น, 21-22 พ.ย. 2551, โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว, เชียงใหม่
จิตรกรรมฝาผนังและโครงสร้างเจดีย์ วัดอุโมงค์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยวิธีการทางเคมีและคณิตศาสตร์เบื้องต้น ในการสัมมนาวิทยาศาสตร์ศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ ๓ เรื่อง การพัฒนากระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สู่นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น, 21-22 พ.ย. 2551, โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว, เชียงใหม่
หน่วยวิจัยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดีมีการให้บริการทางวิชาการในหลายรูปแบบ อาทิ
ค่ายวิชาการสำหรับนักเรียนและนักศึกษา
การอบรมครู
การศึกษาดูงาน
การจัดนิทรรศการนำเสนอผลงาน
การบริการการศึกษาวิจัย รวมถึงการเป็นที่ปรึกษาในโครงการต่างๆ
การขอรับข้อมูลสำหรับเผยแพร่ผ่านสื่อมวลชน
ท่านสามารถดูข้อมูลการบริการวิชาการได้จาก www.atichart.com หรือติดต่อ ดร.อติชาต เกตตะพันธุ์ โดยตรงผ่าน
โทรศัพท์:
083-763-1536
อีเมล์:
kettapun[at]chiangmai.ac.th
เว็บไซต์: http://www.math.science.cmu.ac.th/ams
ไปรษณีย์:
หน่วยวิจัยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์โบราณคดี ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200
-- ปรับปรุงล่าสุด วันที่ 28 May 2015 --